วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553
โครงสร้างเว็บไซต์แบบแนวนอน
ขนาดของเวป 1024*768
การจัดวางตำแหน่งของ LOGO เนื้อหาภาพประกอบ
ส่วนหัว ชื่อเว็ป,เมนู,ละคร,รายการ,ดารา,กีฬา,ข่าว,Moble,กิจกรรม,VDO GALLERY
ส่วนกลาง มีรูปภาพ,VDO Cilp, WEB EXCLUSIVE
ส่วนล่าง เว็ปบอดร์,มุมฝากข่าว,แสดงความคิดเห็น
ตำแหน่งข้อมูล Navigation Bar อยู่ด้านบนสุด
ลักษณะของเมนู แบบตัวอักษร
การแบ่งหมวดหมู่ ชื่อเว็ป,เมนู,ละคร,รายการ,ดารา,กีฬา,ข่าว,Moble,กิจกรรม,VDO GALLERY
โครงสร้างเว็บไซต์แบบแนวตั้ง
ขนาดของเวป 1024*768
การจัดวางตำแหน่งของ LOGO เนื้อหาภาพประกอบ
ส่วนหัว ชื่อเว็ป,หน้าหลัก,เกม,ท่องเที่ยว,ข่าวดารา,โหลดรูป,ลดราคา,ฟรีเว็ป,มือถือ,ฟุตบอล,ติดต่อเรา
ส่วนกลาง มีรูปภาพ,ข้อมูลต่าง ๆ
ส่วนล่าง เว็ปมาใหม่,เว็ปเด่น,เพิ่มรายชื่อ,แจ้งลบ,แก้ไขเว็ป
ตำแหน่งข้อมูล Navigation Bar อยู่ด้านบนสุด
ลักษณะของเมนู แบบตัวอักษร
การแบ่งหมวดหมู่ ชื่อเว็ป,หน้าหลัก,เกม,ท่องเที่ยว,ข่าวดารา,โหลดรูป,ลดราคา,ฟรีเว็ป,มือถือ,ฟุตบอล,ติดต่อเรา
การใช้ตัวอักษร
การใช้ตัวอักษร
Typo
ความหมาย
"TYPOGRAPHY"
การใช้ตัวอักษรหรือการจัดวางตัวอักษร
"FONT (TYPEFACES) "
ชุดรูปแบบของตัวอักษร
"FONT FAMILIES"
ตระกูลของชุดแบบตัวอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง ฯลฯ
Typo
ส่วนประกอบ
Typo
ขนาด
Typo
ประเภท
+ Sans Serif (ไม่มีเชิง)
+ Serif (มีเชิง)
+ Script (ลายมือ)
+ Monospace (เป็นบล็อค , เป็นช่องๆ)
+ Novelty (แฟชั่น , ตกแต่ง , ประดับ)
+ Dingbat , Ornament (รูปสัญลักษณ์)
Typo
การจัดตำแหน่ง
Typo
การผสมอักษร
1.ตัวอักษรไม่มีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรมีขาตัวบาง ตัวอักษรทั้งสองแบบ มีความแตกต่างด้วยน้ำหนักและขนาด ทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
2.ตัวอักษรมีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรไม่มีขาตัวบาง การผสมอักษรแบบนี้ทำให้เกิดจุดเด่นของสัญลักษณ์อักษรได้ง่าย
3.ตัวอักษรไม่มีขาผสมกับตัวอักษรมีขา การผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่น เนื่องจากตัวอักษรทั้งสองแบบไม่มีความแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก // ไม่ควรใช้ !
4.ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้ เหมาะสำหรับงานที่มีการพัฒนาแนวความคิด
5.เช่นเดียวกัน การผสมอักษรสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
Typo
การปรับระยะห่าง
Typo
ความหมาย
"TYPOGRAPHY"
การใช้ตัวอักษรหรือการจัดวางตัวอักษร
"FONT (TYPEFACES) "
ชุดรูปแบบของตัวอักษร
"FONT FAMILIES"
ตระกูลของชุดแบบตัวอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง ฯลฯ
Typo
ส่วนประกอบ
Typo
ขนาด
Typo
ประเภท
+ Sans Serif (ไม่มีเชิง)
+ Serif (มีเชิง)
+ Script (ลายมือ)
+ Monospace (เป็นบล็อค , เป็นช่องๆ)
+ Novelty (แฟชั่น , ตกแต่ง , ประดับ)
+ Dingbat , Ornament (รูปสัญลักษณ์)
Typo
การจัดตำแหน่ง
Typo
การผสมอักษร
1.ตัวอักษรไม่มีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรมีขาตัวบาง ตัวอักษรทั้งสองแบบ มีความแตกต่างด้วยน้ำหนักและขนาด ทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
2.ตัวอักษรมีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรไม่มีขาตัวบาง การผสมอักษรแบบนี้ทำให้เกิดจุดเด่นของสัญลักษณ์อักษรได้ง่าย
3.ตัวอักษรไม่มีขาผสมกับตัวอักษรมีขา การผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่น เนื่องจากตัวอักษรทั้งสองแบบไม่มีความแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก // ไม่ควรใช้ !
4.ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้ เหมาะสำหรับงานที่มีการพัฒนาแนวความคิด
5.เช่นเดียวกัน การผสมอักษรสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
Typo
การปรับระยะห่าง
องค์ประกอบการออกแบบ (ELEMENT OF DESIGN)
วงจรสี,สี
- hue แปลว่า เนื้อสี
- stion แปลว่า ความจัดจ้าน,ความสด
- value แปลว่า ค่าน้ำหนักของสี
ระบบของสี
CMYK ระบบที่ใช้ในการพิมพ์
- Cyan (C)
- Magenta (M)
- Yellow (Y)
- Black (K)
RGB ระบบที่ใช้ในจอภาพ
- RED (R)
- Green (G)
- Blue (B)
หลักการเลือกสี (COLOR COMBINATION)
MONOCHROMATIC
- การใช้สีเดียว สร้างความแตกต่างด้วยระดับความมืด-สว่างของสี
TRIADS
- การใช้สี 3สีจากคู่สีตรงข้ามกันเพื่อสร้างความแตกต่าง
ANALOGOUS
- การใช้สีใกล้เคียงกัน โดยเลือกจากสีที่อยู่ถัดไปอีก 2-3สี สามารถสร้างความกลมกลืนได้ดี
COMPLEMENTARY
- การใช้สีตรงกันข้ามกัน สามารถช่วยเน้นความโดเด่นได้ดี ควรใช้สีดำหรือเทา เพื่อลดความรุนแรงของสี
นอกจากนั้นการใช้สี 2สีที่แตกต่างกันมาก จะทำให้มีความสำคัญเท่ากัน ดังนั้นจึงควรลดความเข้มของสีหนึ่งลง
SPLIT-COMPLEMENTS
- การใช้สีแบบผสม เป็นการผสมผสานระหว่างสีโทนร้อนและเย็น โดยเริ่มจากการเลือกสีใดสีหนึ่ง และจับคู่กัอีก 2สี ในแทบสีตรงกันข้ามกัน
- hue แปลว่า เนื้อสี
- stion แปลว่า ความจัดจ้าน,ความสด
- value แปลว่า ค่าน้ำหนักของสี
ระบบของสี
CMYK ระบบที่ใช้ในการพิมพ์
- Cyan (C)
- Magenta (M)
- Yellow (Y)
- Black (K)
RGB ระบบที่ใช้ในจอภาพ
- RED (R)
- Green (G)
- Blue (B)
หลักการเลือกสี (COLOR COMBINATION)
MONOCHROMATIC
- การใช้สีเดียว สร้างความแตกต่างด้วยระดับความมืด-สว่างของสี
TRIADS
- การใช้สี 3สีจากคู่สีตรงข้ามกันเพื่อสร้างความแตกต่าง
ANALOGOUS
- การใช้สีใกล้เคียงกัน โดยเลือกจากสีที่อยู่ถัดไปอีก 2-3สี สามารถสร้างความกลมกลืนได้ดี
COMPLEMENTARY
- การใช้สีตรงกันข้ามกัน สามารถช่วยเน้นความโดเด่นได้ดี ควรใช้สีดำหรือเทา เพื่อลดความรุนแรงของสี
นอกจากนั้นการใช้สี 2สีที่แตกต่างกันมาก จะทำให้มีความสำคัญเท่ากัน ดังนั้นจึงควรลดความเข้มของสีหนึ่งลง
SPLIT-COMPLEMENTS
- การใช้สีแบบผสม เป็นการผสมผสานระหว่างสีโทนร้อนและเย็น โดยเริ่มจากการเลือกสีใดสีหนึ่ง และจับคู่กัอีก 2สี ในแทบสีตรงกันข้ามกัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)